กรุณาเลือกผู้ใช้งานเพื่อเข้าสู่ระบบ:

โทรศัพท์ +66 7428 7841

โทรสาร +66 7428 7890

ติดตามเรา

  • ไทย
  • อังกฤษ

เข้าสู่ระบบ

อาจารย์ประจำสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

รัฐประศาสนศาสตร์

หัวหน้าสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฆายนีย์ ช. บุญพันธ์

วุฒิการศึกษา :

Ph.D. (Political Science) University of Waikato, New Zealand,  2015

ความเชี่ยวชาญ :

– การบริหารท้องถิ่น
– การคลังสาธารณะ
– การจัดการความขัดแย้ง

ข้อมูลติดต่อ :

+66-7428-7845
kayanee.b@psu.ac.th
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

Boonpunth, K.C., & Rolls, M.G. (2017). “Peace Survey-Lessons Learned from Northern Ireland
to Southern Thailand”. ASR: Chiang Mai University Journal of Social Sciences and Humanities. 4(2), 133-153.

 

Boonpunth, K. C. & Roll, M. G. (2016). The Role of Civil Society in Peacebuilding in Southern
Thailand, Journal of Public Affairs, 16(4), 376–383.

 

ฆายนีย์ ช. บุญพันธ์. (2562). “การมีส่วนร่วมของกลุ่มต่าง ๆ เพื่อสร้างสันติภาพอย่างยั่งยืนในชายแดนใต้”. วารสารสถาบันพระปกเกล้า. 17(1), 100-117.

ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ และ/หรือมีการตีพิมพ์รวมเล่ม

– ไม่มีข้อมูล –

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิศรัฏฐ์ รินไธสง

วุฒิการศึกษา :

วท.ด. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์), ศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร, 2543

ความเชี่ยวชาญ :

– สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์และเทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณขั้นสูง
– พฤติกรรมศาสตร์ / ภาวะผู้นำ
– ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์

ข้อมูลติดต่อ :

+66-7428-7873
idsaratt.r@psu.ac.th
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ
ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ และ/หรือมีการตีพิมพ์รวมเล่ม
รองศาสตราจารย์ ดร.วิษณุพงษ์ โพธิพิรุฬห์

วุฒิการศึกษา :

Ph.D.(Public Management and Organizational Behavior), State University of New York at Albany, USA, 2014

ความเชี่ยวชาญ :

– พฤติกรรมองค์การ
– ภาวะผู้นำ
– การทุจริตในองค์การ
– รัฐประศาสนศาสตร์เชิงพฤติกรรม

ข้อมูลติดต่อ :

+66-7428-7869
wisanupong.p@psu.ac.th
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

Potipiroon, W., Wongpreedee, A. (2020) Ethical Climate and Whistleblowing Intentions: Testing the Mediating Roles of Public Service Motivation and Psychological Safety among Local Government Employees. Public Personnel Management (ISI) (forthcoming)

 

Potipiroon, W., Faerman, S. (2020) Tired from Working Hard? Examining the effect of Organizational Citizenship Behavior on Emotional Exhaustion and the Buffering Roles of Public Service Motivation and Perceived Supervisor Support. Public Performance and Management Review. DOI: 10.1080/15309576.2020.1742168

[2018 Impact Factor (ISI): 1.600]

https://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/15309576.2020.1742168

 

Potipiroon, W., & Ford, M. T. (2019). Relational costs of status: Can the relationship between supervisor incivility, perceived support, and follower outcomes be exacerbated? Journal of Occupational and Organizational Psychology, 92(4), 873–896 doi: doi:10.1111/joop.12263

[2017 Impact Factor (ISI): 2.892]

ISI Journal Citation Reports © Ranking: 2017:59/210 (Management)
ISI Journal Citation Reports © Ranking: 2017:15/82 (Psychology, Applied)

https://onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.1111/joop.12263

 

Potipiroon, W., Srisuthisa-ard, A., & Faerman, S. (2019). Public service motivation and customer service behaviour: testing the mediating role of emotional labour and the moderating role of gender. Public Management Review, 21(5), 650-668. doi:10.1080/14719037.2018.1500629

[2017 Impact Factor (ISI): 3.152]

https://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/14719037.2018.1500629

https://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/14719037.2018.1500629

 

Potipiroon, W. and E. V. Rubin. 2018. Who Is Most Influeced by Justice Perceptions? Assessing the Role of Occupational Status. Review of Public Personnel Administration. 38(3), 271-302

[2017 Impact Factor (ISI): 2.444| Ranking SCIMAGO: Public Administration 19 out of 111]

https://journals.sagepub.com/doi/10.1177/0734371X16660156

 

Potipiroon, W., Ford, M. 2017. Does public service motivation always lead to organizational commitment?: The moderating roles of intrinsic motivation and ethical leadership. Public Personnel Management, 46(3), 211-238.

[2017 Impact Factor (ISI): 1.364| Ranking SCIMAGO: Public Administration 36 out of 111]

https://journals.sagepub.com/doi/abs/10.1177/0091026017717241

 

Potipiroon, W. and S. Faerman. 2016. “What Difference Do Ethical Leaders Make? Exploring the Mediating Role of Interpersonal Justice and the Moderating Role of Public Service Motivation.” International Public Management Journal 19(2): 171-207.

[2017 Impact Factor (ISI): 2.739 | Ranking SCIMAGO: Public Administration 6 out of 111]

http://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/10967494.2016.1141813?journalCode=upmj20

 

Potipiroon, W., Sritanyarat, D., & McLean, G. N. (2010). Epistemology in Thailand: How do we know what we know in HROD?. Human Resource and Organization Development Journal Vol. 2, No. 2 (July-December 2010), 2(2), 5

PEER REVIEWED PUBLICATIONS (with PhD students)

 

Promchart, K., & Potipiroon, W. (2020). Can Transformational Leaders Reduce Turnover Intentions among School Teachers in the Deep South? The Mediating Roles of Perceived Safety and Job Satisfaction. The Journal of Behavioral Science (accepted) (Web of Science ESCI)

 

Chumphong, O., & Potipiroon, W. (2019). High Performance Work Systems and SMEs’ Performance: Does CEOs’ Leadership Matter?. The Journal of Behavioral Science, 14(2), 48-65. (Web of Science ESCI)

https://so06.tci-thaijo.org/index.php/IJBS/article/view/174305

 

Worokinasih, S., & Potipiroon, W. (2019). Microfinance Repayment Performance of SMEs in Indonesia: Examining the Roles of Social Capital and Loan Credit Terms. The Journal of Behavioral Science, 14(1), 28-45. (Web of Science ESCI)

https://so06.tci-thaijo.org/index.php/IJBS/article/view/150625

ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ และ/หรือมีการตีพิมพ์รวมเล่ม

– ไม่มีข้อมูล –

รองศาสตราจารย์ ดร.สมพร คุณวิชิต

วุฒิการศึกษา :

Ph.D. in Public Administration (Public Management & Emergency Management), University of North Texas, USA, 2013

ความเชี่ยวชาญ :

– การจัดการสถานการณ์วิกฤติฉุกเฉิน
– การลดความเสี่ยงภัยพิบัติ
– การพัฒนาศักยภาพในการรับมือและฟื้นฟูจากภัยพิบัติ
– การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ
– การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ

ข้อมูลติดต่อ :

+66-7428-7880
somporn.kh@psu.ac.th
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

Khunwishit, S., Choosuk, C., & Webb, G. (2018). Flood Resilience Building in Thailand: Assessing Progress and the Effect of Leadership. International Journal of Disaster Risk Science, 9 (1), 44-54. (Indexed in Web of Science and Scopus)

 

Khunwishit, S. & Rammanee, Y. (2018). Climate-Related Disaster Impacts, Risk Perception and Adaptation of Farmer Households in Songkhla Lake Basin. Political Science and Public Administration Journal, 9 (1), 81-111. (Indexed in TCI 1)

 

Tanongsak, W., Kittitornkool, J., Chuai-Aree., & Khunwishit, S. (2018). Table-Top Exercise for Testing the Efficiency of Community Database for Flood Management in Two Subdistricts in Songkhla Lake Basin, INTHANINTHAKSIN Journal, 13 (2), 119-137. (Indexed in TCI 1)

 

Tanongsak, W., Kittitornko, J., Choi-Aree, S., & Khunwishit, S. (2016). Community Database for Flood Management by Collaboration of Communities and Local Authorities: A Case Study of Two Sub-districts in Songkhla Lake Basin. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 9 (2), 181-193. (Indexed in TCI 1)

 

Collins, B., Andrew, S. & Khunwishit, S. (2016). Complex Grant-Contracting and Social Equity: Barriers to Municipal Access in Federal Block Grant Programs. Public Performance & Management Review, 39 (2), 406-429. (Indexed in Scopus and Web of Science)

 

Khunwishit, S. (2014). 10 Years of Disaster Management in Thailand: An Examination of Policy, Organization and Performance after the Indian Ocean Tsunami in 2004. Journal of Politics and Governance, 4 (2) (March – August, 2014). (Indexed in TCI 1)

 

Khunwishit, S. & McEntire, D. (2012). Testing Social Vulnerability Theory: A Quantitative Study of Hurricane Katrina’s Perceived Impact on Residents living in FEMA Designated Disaster Areas. Journal of Homeland Security and Emergency Management, 9 (1), 1-17. (Indexed in SCOPUS and Web of Science)

 

Khunwishit, S. (2012). “Disaster Management in Thailand: Policy, Organization, Opportunities and Challenges” Southeast Current Vol. VIIII, No. 98, February 2012. (Indexed in TCI 1)

 

Khunwishit, S. & Arlikatti, S. (2012). “Demographic Changes in the United States of America: Challenges for Disaster Management.” in Hoque, Nazrul and Swanson, David A. (Eds.), Opportunities and Challenges for Applied Demography in the 21st Century. New York: Springer. (Publication date January 31, 2012; ISBN 978-94-007-2296-5)

 

Khunwishit, S. & McEntire, D. (2011). “Emergency Management in Thailand: On the Way to Creating a More Systematic Approach to Disasters.” In Comparative Emergency Management: Understanding Disaster Policies, Organizations, and Initiatives from Around the World. http://training.fema.gov/EMIWeb/edu/CompEmMgmtBookProject.asp. Federal Emergency Management Agency: Emmitsburg, MD.

 

Junrith, K., Symonette, E., Kung, H. & Khunwishit, S. (2011). “Elderly Asian Immigrants and Challenges of Living in the United States of America.” in Hoque, Nazrul and Swanson, David A. (Eds.), Opportunities and Challenges for Applied Demography in the 21st Century. New York: Springer. (Publication date January 31, 2012; ISBN 978-94-007-2296-5)

ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ และ/หรือมีการตีพิมพ์รวมเล่ม

– ไม่มีข้อมูล –

ดร.ธัญรดี ทวีกาญจน์

วุฒิการศึกษา :

Ph.D. (Social Science), School of Global, Urban and Social Studies, RMIT University, Australia,  2014

ความเชี่ยวชาญ :

– การบริหารการปกครอง
– นโยบายสาธารณะ
– การพัฒนา

ข้อมูลติดต่อ :

+66-7428-7881
thunradee.t@psu.ac.th
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

Battersby P, Taveekan T, and Nimbtik G. Models of Governance: Governance, Power and Participation” In Battersby P and Roy R, eds. International Development: A Global Perspective on Theory and Practice. London, UK: SAGE; 2017: 50 – 67.

ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ และ/หรือมีการตีพิมพ์รวมเล่ม

– ไม่มีข้อมูล –

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฤๅชุตา เทพยากุล

วุฒิการศึกษา :

Ph.D.in Management, Prince of Songkla University, 2558

ความเชี่ยวชาญ :

– การบริหารทรัพยากรมนุษย์
– การบริหารคนเก่ง
– การบริหารทุนมนุษย์
– องค์การและการจัดการ
– พฤติกรรมองค์การ

ข้อมูลติดต่อ :

+66-7428-7865
ruechuta.t@psu.ac.th
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

Tepayakul, R., & Rintahaisong, I. (2018). Job Satisfaction and Employee Engagement among Human Resources Staff of Thai Private Higher Education Institutions. The Journal of Behavioral Science, 13(2), 68–81. (ISI Web of Sciences, Scopus, ACI, TCI1)

 

Tepayakul, R., & Rintahaisong, I. (2016). Finding Components of Talent Management System. Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanities, and Arts,16(3), 77–90. Doi: https://doi.org/10.14456/sujsha.2016.18 (ACI, TCI1)

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2555). การปกครองส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสริมการเรียนรู้ภูมิปัญญา. วารสารกรมการปกครองเทศาภิบาล, 108(8), 52-55.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง. , วารสารกำนันผู้ใหญ่บ้าน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 66(2), 5-8.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2555). คุณลักษณะนายกรัฐมนตรีที่พึงประสงค์ในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา กรณีศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสถาบันอุดมศึกษา จังหวัดสงขลา. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 10(1), 15-23.

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2556). การปกครองส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสริมการเรียนรู้ภูมิปัญญา. วารสารกรมการปกครองเทศาภิบาล, 108(8), 52-55.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมืองสู่สังคมประชาธิปไตยที่เข้มแขงอย่างยั่งยืน. วารสารกำนันผู้ใหญ่บ้าน, 66(2), 5-8.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2554). การศึกษาวิชาความเป็นพลเมือง (Citizenship Education). วารสารเรียนรู้ประชาธิปไตย, 3(9), 3.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2552). ธรรมนูญฉบับห้องเรียนของเรา. วารสารเรียนรู้ประชาธิปไตย, 1(3), 21.

ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ และ/หรือมีการตีพิมพ์รวมเล่ม

นงนภัส ภิญโญ และฤๅชุตา เทพยากุล. (2562). กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนจังหวัดสงขลา. บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 2 “มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ นวัตกรรมสร้างสรรค์สังคม”, 5-6 สิงหาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฎสงขลา, 149-162.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2561). อิทธิพลของการบริหารคนเก่ง และการรับรู้ของบุคลากรต่อความยุติธรรมในองค์การที่มีต่อการปฏิบัติงานขององค์การ. การประชุมวิชาการระดับชาติ: วันสันติภาพสากล ครั้งที่ 3 ศาสนากับสันติภาพ วันที่ 21 กันยายน 2561 , สถาบันสันติศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 134 –148.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2558). พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา. องค์การ. การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต ครั้งที่ 5 การพัฒนางานวิจัย รากฐานสำคัญของไทย ก้าวไกลสู่เวทีสากล วันที่ 17-18 ธันวาคม 2558 , มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต. 122 –1428.

 

Tepayakul, R. & Rinthaisong, I. (2016). Status of Talent Management on Human Resource Management. Proceedings of the 7th Academic Meeting National and International Conference, Suan Sunandha Rajabhat University, Bangkok. 66-75.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล, ผู้ร่วมวิจัย (2561). โครงการวิจัยประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานและอาสาสมัครพัฒนาหมู่บ้านพื้นที่ต้นแบบ 3 จังหวัดชายแดนใต้ รุ่นที่ 1 และรุ่นที่ 2 . มูลนิธิปิดทองหลังพระ.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล, ผู้ร่วมวิจัย (2560). โครงการวิจัยประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานและอาสาสมัครพัฒนาหมู่บ้านพื้นที่ต้นแบบ 3 จังหวัดชายแดนใต้ รุ่นที่ 3. มูลนิธิปิดทองหลังพระ.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล, ผู้ร่วมวิจัย (2558). การจัดกิจกรรมตามเทศกาลในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาในทัศนะของผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว. สมาคมสมาพันธ์ธุรกิจการท่องเที่ยวจังหวัดสงขลา.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2557). ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยหาดใหญ่. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2555). พฤติกรรมการจัดการขยะมูลฝอยของครัวเรือนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลตาเนาะแมเราะ อำเภอเบตง จังหวัดยะลา. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล, ผู้ร่วมวิจัย (2553). กระบวนการเรียนรู้เพื่อสุขภาพเพื่อสรรค์สร้างความเข้มแข็งแห่งสุขภาวะชุมชน กรณีตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. โครงการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนฐานราก เครือข่ายการวิจัยภาคใต้ตอนล่าง.

 

ฤๅชุตา เทพยากุล. (2552). คุณลักษณะนายกรัฐมนตรีที่พึงประสงค์ในทัศนะของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา กรณีศึกษา นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสถาบันอุดมศึกษา จังหวัดสงขลา. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

ดร.สิริวิท อิสโร

วุฒิการศึกษา :

Ph.D. รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต (รัฐศาสตร์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2558

ความเชี่ยวชาญ :

– การบริหารคุณภาพ
– การบริหารยุทธศาสตร์
– การประเมินผลโครงการ
– รัฐประศาสนศาสตร์

ข้อมูลติดต่อ :

+66-7428-7878
siriwit.i@psu.ac.th
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

ศิรภัสสรศ์ วงศ์ทองดี, สิริวิท อิสโร และคณะ. 2559. ยุทธศาสตร์การนำคุณค่าของผู้สูงอายุมาสู่สังคมอย่างสร้างสรรค์บนพื้นฐานการสร้างหลักประกันคุณภาพชีวิตที่ดีให้กับประชากรทุกวัย. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี, ปีที่ 27 ฉบับที่ 2 (มีนาคม – สิงหาคม).

 

สิริวิท อิสโร. 2558. ประสิทธิผลของการบริหารคุณภาพในองค์การภาครัฐของไทย (Effectiveness of Quality Management in Thai Public Organizations). วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย,7(1).

ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ และ/หรือมีการตีพิมพ์รวมเล่ม

สิริวิท อิสโร. 2558. ประสิทธิผลของการบริหารคุณภาพในส่วนราชการไทย : กับดักบนเงาแห่งความเป็นสากล (Effectiveness of Quality Management in Thai Bureaucratic Organizations : Caught in the Trapping of Internationalization). บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 3 หัวข้อ “รัฐประศาสนศาสตร์ไทยในระยะเปลี่ยนผ่าน” ในวันที่ 27 มีนาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช จัดโดยสมาคมรัฐประศาสนศาสตร์แห่งประเทศไทย.หน้า 525-549.

 

สิริวิท อิสโร (คณะบรรณาธิการ). 2553. เอกสารการประชุมวิชาการเรื่อง “การกระจายอำนาจกับการปฏิรูปประเทศไทย”. บรรณาธิการโดย ผศ.ดร.วีระศักดิ์ เครือเทพ และ ศ.ดร.จรัส สุวรรณมาลา. กรุงเทพฯ : ศูนย์ส่งเสริมนวัตกรรมและธรรมาภิบาลท้องถิ่น (CLTG) คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อาจารย์กิตติพันธ์ เอกอารีสกุล

วุฒิการศึกษา :

M.A.(Public Administration) Aligarh Muslim University Aligarh U.P., India, 2010

ความเชี่ยวชาญ :

– นโยบายสาธารณะและการจัดการ

ข้อมูลติดต่อ :

+66-7428-7870
kittipan.e@psu.ac.th
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ และ/หรือมีการตีพิมพ์รวมเล่ม

ดร.ดนุวัศ สุวรรณวงศ์

วุฒิการศึกษา :

Ph.D in Management, Prince of Songkla University, 2557

ความเชี่ยวชาญ :

– การจัดการภาครัฐ
– การปกครองท้องถิ่น
– การท่องเที่ยว

ข้อมูลติดต่อ :

+66-7428-7872
d.suwanvong@hotmail.com
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

Suwanvong, D. and Chaijaroenwatana, B. (2012). A Framework for the Development of Strategies Administrative of Higher Education Institutions for the Three Southern Border Provinces in Thailand: An Emphasis for Sustainable Development and the ASEAN Community. Research in Higher Education Journal. (18) December 2012: 13-22.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์, บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ, ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี และ ชิดชนก เชิงเชาว์. (2560). กลยุทธ์และรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการบริหารสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารพัฒนบริหารศาสตร์. ฉบับที่ 3 ปีที่ 57 เดือนกรกฎาคม-กันยายน 2560. หน้า 47-76.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์ และ บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ. (2556). กระบวนทัศน์ใหม่สำหรับการบริหารสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้: กรอบแนวทางเพื่อมุ่งเน้นการพัฒนาอย่างยั่งยืนและรองรับชุมชนอาเซียน. วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ฉบับที่ 13 ปีที่ 2 เดือนกรกฎาคม-ธันวาคม 2556. หน้า 58-71.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์ และ บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ. (2554) ความไว้วางใจทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้: ศึกษาเปรียบเทียบพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่และเทศบาลเมืองปัตตานี. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ฉบับที่ 17 ปีที่ 3 เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2554 หน้า 353-374.

ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ และ/หรือมีการตีพิมพ์รวมเล่ม

Suwanvong, D., Chaijaroenwattana, B. & Jitpiromsri, S. (2013). A Framework for the Development of Appropriate Strategies and Administrative Model of Higher Education Institutions for the Three Southern Border Provinces in Thailand: An Emphasis for Sustainable Development and the ASEAN Community. In: Proceeding of the 6th Silpakorn University International Conference on Academic Research and Creative Arts: Integration of Art and Science, January 18, 2013, Nakhon Pathom, Thailand.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์ และ นวิทย์ เอมเอก. (2560). สภาพปัญหาอุปสรรคและแนวทางการพัฒนา ความร่วมมือในการจัดบริการสาธารณะระหว่างเทศบาลในพื้นที่อำเภอหาดใหญ่. รายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceeding) ในการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 8 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ หน้า 245 – 255.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์, ภัทรพงษ์ เกริกสกุล และ นราวดี บัวขวัญ. (2560). โอกาสและความเป็นไปได้ในการเชื่อมโยงเครือข่ายการท่องเที่ยวโดยชุมชนในชุมชนต้นแบบ 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (สตูล สงขลา ปัตตานี ยะลา และนราธิวาส) กับชุมชนใน 4 รัฐ (กลันตัน เปรัค เคดาห์ และเปอร์ลิส) ประเทศมาเลเซีย. รายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceeding) ในการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 27 ประจำปี 2560 หน้า 308 – 314.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์ และ นราวดี บัวขวัญ. (2560). การประเมินผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559: ความพึงพอใจของประชาชน. รายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceeding) ในการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 27 ประจำปี 2560 หน้า 340 – 345.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์ และ นวิทย์ เอมเอก. (2559). ปรากฏการณ์ความสำเร็จของการบริหารเครือข่ายชุมชนท้องถิ่นอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษา ชุมชนบ้านโคกพะยอม อำเภอละงู จังหวัดสตูล. รายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceeding) ในการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 7 มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ หน้า 622 – 632.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์ นวิทย์ เอมเอก และ ธวัชชัย ศรีพรงาม. (2559). การศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา วิทยาเขตสตูล. รายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceeding) ในการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา ครั้งที่ 6 การศึกษาและวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น. หน้า 32-39.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์ บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และ ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี. (2557). กลยุทธ์และรูปแบบที่เหมาะสมสำหรับการบริหารสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. รายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceeding) ในการประชุมวิชาการรัฐประศาสนศาสตร์ระดับนานาชาติและระดับชาติ ครั้งที่ 2 คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้า 193 – 213.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์, บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ และ ศรีสมภพ จิตร์ภิรมย์ศรี. (2555). กระบวนทัศน์ใหม่ในการบริหารสถาบันอุดมศึกษา: บทสรุปจากการสังเคราะห์เอกสารงานวิจัยเพื่อการพัฒนากลยุทธ์และรูปแบบการบริหารสถาบันอุดมศึกษาในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้. รายงานสืบเนื่องจากการประชุม (Proceeding) สาขาศึกษาศาสตร์ ในการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ ครั้งที่ 1 การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อพัฒนาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และประเทศไทย หน้า 1-12.

 

ดนุวัศ สุวรรณวงศ์ และ บุษบง ชัยเจริญวัฒนะ. (2553). ความไว้วางใจทางการเมืองและการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมภาคใต้: ศึกษาเปรียบเทียบพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่และเทศบาลเมืองปัตตานี. รายงานสืบเนื่องจาก การประชุม (Proceeding) ในการประชุมวิชาการระดับชาติด้านการบริหารและการจัดการ ครั้งที่ 2 เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2553 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

ดร.รักเกียรติ อินทับทัน

วุฒิการศึกษา :

Ph.D. (Public Administration), Burapha University, 2020

ความเชี่ยวชาญ :

– นโยบายสาธารณะ
– การบริหารการพัฒนา
– การบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่
– ระเบียบวิธีวิจัย

ข้อมูลติดต่อ :

+66-7428-7884
intabtan.r@gmail.com
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการ

Intabtan, R., Nantapetch, K., Chaimadan, C. (2020). The Implementation on Policy and Investment Measures

at Chiang Rai Special Economic Zone. Journal of Southern Technology Vol.14 No.1 January-June 2021

ผลงานที่นำเสนอในที่ประชุมวิชาการ และ/หรือมีการตีพิมพ์รวมเล่ม

รักเกียรติ อินทับทัน และคณะ. 2557. เขตเศรษฐกิจพิเศษสระแก้วและเขตเศรษฐกิจพิเศษตราด: การสำรวจและการศึกษาเบื้องต้น. โปสเตอร์ผลงานวิชาการในเวทีประชุมวิชาการระดับชาติ ณ คณะรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.